บทความ

ระบบ As/Rs

รูปภาพ
                                            ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ                                 ( Automated Storage/Retrieval System หรือเรียก AS/RS ) ระบบเทคโนโลยีกับการจัดการคลังสินค้า                ระบบเทคโนโลยีเพื่อการจัดการคลังสินค้า นอกจากจะใช้ระบบซอฟแวร์ในการบริหารคลังสินค้าแล้ว ปัจจุบันทุกคลังสินค้าได้นำระบบ Barcode มาใช้เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ทางธุรกิจ ซึ่งถือว่าเป็นระบบเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงมากในเรื่องการลดความผิดพลาด สามารถเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจเช็คสินค้าโดยไม่ต้องใช้คนนับ ลดความผิดพลาดในการทำงานได้มาก นอกจากนี้ยังมีคลังสินค้าสมัยใหม่เป็นจำนวนมากที่เริ่มนำเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในคลังสินค้าให้สะดวก และรวดเร็ว ลดความผิดพลาดจากการทำงาน สามารถสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ภายในคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการดำเนินงาน ลดความซ้ำซ้อนจากการทำงาน ระบบเทคโนโลยีที่ใช้กับคลังสินค้าสามารถแบ่งได้เป็น 4 ส่วน ดังนี้                                 1. เทคโนโลยีที่เป็นโปรแกรมคุมเครื่อง  

ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ

  ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก เฟืองพลาสติก. สายพานลำเลียง เฟืองพลาสติกคือล้อที่มีเฟืองเฟืองที่ประกอบบล็อกพิทช์หรือบล็อกที่มีระยะพิทช์ที่แม่นยำบนสายเคเบิล   เฟืองที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในเครื่องจักรเคมี, เครื่องจักรสิ่งทอ, บันไดเลื่อน, การแปรรูปไม้, โรงจอดรถสามมิติ, เครื่องจักรกลการเกษตร, การแปรรูปอาหาร, เครื่องมือวัด, น้ำมันและอุตสาหกรรมส่งกำลังเชิงกลอื่น ๆ ระบบสายพานลำเลียง Top Chain Conveyor ชนิดพลาสติก เข้าโค้งได้ Top Chain Conveyor  คือ ระบบสายพานลำเลียงที่ใช้โซ่เป็นตัวขับเคลื่อน และลำเลียงวัตถุ โดยที่ตัวโซ่ด้านบนจะมีปีกแบนๆ เพื่อใช้วางวัตถุ โซ่จะเรียงต่อกันคล้ายก้างปลา เมื่อเรียงต่อกันสามารถทำมุมโค้งงอได้ถึง 90 องศา มีทั้งแบบที่ใช้วัสดุที่เป็นพลาสติก และสเตนเลส เหมาะแก่การลำเลียงชิ้นงานเล็กๆ เช่น ลำเลียงขวด, กระป๋อง, แก้ว หรือชิ้นงานบรรจุถุง เป็นต้น รถ AGV              ร ถขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติ  AGV  มีหลายชนิดให้เลือกตามความเหมาะสมของการใช้งานตั้งแต่ การใช้งานแบบลากจูง container ,แบบยก container จนถึงแบบรถยก (Forklift) ในลักษณะต่างๆ โดยมีระบบควบคุมเส้นทางและนำทางการขับเคลื่อน (T

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

  หุ่นยนต์ สุนัขหุ่นยนต์ Sony Aibo ความสามารถของเจ้าหุ่นยนต์สุนัขตัวนี้คือ พัฒนาการตอบสนองเข้ากับสิ่งแวดล้อมต่อบุคคลรอบข้างได้ด้วยเซนเซอร์ที่พัฒนาเป็นพิเศษ   การเคลื่อนไหวได้สมจริงด้วยข้อต่อทั้งตัวจำนวน 22 ชิ้น ทำให้การเคลื่อนไหวเป็นธรรมชาติมากขึ้น การควบคุมด้วยระบบชิปประมวลผล 64-bit ดวงตาแบบ OLED (Organic Light Emitting Diode) ที่ทำให้มันสามารถแสดงสีหน้าได้อย่างหลากหลายเเละมีการประมวลผลด้วยระบบคลาวด์เพื่อพัฒนาบุคลิกของสุนัข  ไมโครโฟน 4 ตัว สำหรับฟังเสียงรอบทิศเวลามีเสียงเรียกเจ้าหุ่นยนต์ AIBO ก็สามารถหันไปหาต้นทางเสียงได้ถูกทิศทาง  กล้อง Fish Eye สำหรับตรวจสอบวัตถุรอบๆตัวซึ่งเป็นเทคโนโลยีเดียวกับเทคโนโลยีรถไร้คนขับ Touch Sensor สำหรับการสื่อสารเมื่อมีการสัมผัส พร้อม Function Facial Recognitation จดจำใบหน้าเจ้าของเพื่อให้มันแสดงท่าทาง กริยาต่างจากบุคคลอื่น  Camera Mapping จดจำมุมต่างๆ ภายในที่อยู่อาศัย Deep Learning Technology เรียนรู้ลักษณะนิสัยของเจ้าของ รวมทั้งโทนเสียงของผู้คน Voice Command ออกคำสั่งทางเสียงเบื้องต้น เช่น ลุก, นอน, นั่ง เป็นต้น สามารถดูกล้องผ่านมุมมองของ AIBO ที่ติด

เครื่องจักรNC

  เครื่องจักรNC เครื่องจักรnc คือ การควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. จากวิดิโอที่ช้างต้นจะเห็นใด้ว่านำเอาเครื่องจักรncมาช่วยในการปรับเปลี่ยนลักษณะของการงอเหล็ก  อัดเหล็ก ตามรูปร่างลักษณะตามความต้องการอย่างแม่นยำ เครื่องจักรCNC เครื่องจักรcnc  คือ เป็นเครื่องจักรกลอัติโนมัติที่ทำงานโดยการโปรแกรมเข้าไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะให้มันทำงานตามแบบที่เราโปรแกรมเข้าไป มีหลายภาษาที่ใช้กับเครื่อง โดยมากจะเป็นงานโลหะที่มีความซับซ้อนและต้องการความแม่นยำสูง โดยที่การหล่อไม่สามารถทำได้หรือสามารถทำได้ก็ตาม          ระบบ CNC (Computer Numerical Control) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อเปลี่ยนแปลงและควบคุมสภาพการทำงานของเครื่องจักรกลพื้นฐานดังกล่าวจากเดิมซึ่งใช้แรงงานคนในการทำงานร่วมกับเครื่องจักร ให้เครื่องจักรเหล่านี้สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติด้วยตัวเ

บทความด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร

รูปภาพ
เทคโนโลยีการสื่อสารของโทรศัพท์ ความหมายของเทคโนโลยีการสื่อสาร         “ เทคโนโลยีการสื่อสาร” ( Communication Technology) มีความหมายตรงๆถึง “สื่อที่ช่วยในการถ่ายทอดสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร” เช่น วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้น เทคโนโลยีดิจิตัลช่วยในการประมวลและจัดการกับข้อมูลจำนวนมากๆได้ จึงเรียกเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ” ( Information Technology) วิวัฒนาการของเทคโนโลยีดำเนินไปอย่างไม่สิ้นสุด ทำให้เกิดการผสมผสานศักยภาพระหว่าง “เทคโนโลยีการสื่อสาร” และ “เทคโนโลยีสารสนเทศ” เกิดเป็น “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ( Communication and Communication Technology หรือ ICT) ซึ่งช่วยให้การสื่อสารของมนุษย์สามารถกระทำได้ง่าย รวดเร็ว กว้างขวาง และมีประสิทธิภาพมากขึ้น         ดังนั้น ความหมายของ “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ( ICT) จึงเป็นร่มใหญ่ที่รวมเอาเครื่องมือการสื่อสาร การประยุกต์ใช้ ซึ่งมีความหมายรวมถึง วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์และเครือข่าย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ต่างๆ ระบบดา

สมาชิกในชั้นเรียน

ลำดับที่      ชื่อ                                                  URL  1               นาย ปิยะพล  เทพจันทร์                 https://piyapon001.blogspot.com/  2              นาย ชวนากร  ดำศรีสุข                  https://chawanakon002.blogspot.com  3              นางสาว  พิมพ์นารา ชายแก้ว          https://pimnara003.blogspot.com/  4             นาย ธนกฤต  ทองอุบล                     https://thanakrit004.blogspot.com/  5               นางสาว วรางคณา  ทองสง              https://warangkana005 .blogspot.com 6              นายธนพัต  เอียดหม้ง                      https://thanaphat006.blogspot.com 7             นาย อภินัทธ์ ผ่านกระแส                   https://apinat007.blogspot.com 8             นางสาว  สุกัญญา วัชรจิรโสภณ         https://namsukanya008.blogspot.com 9            นาย  รุสลัน  เจะกุ                               https://ruslanlan009.blogspot.com/ 10          นาย ตนุภัทร  วรรณโก                        https://tanupat010.blogspot.com 11          นาย พชร  เจนทะเล               

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
ชื่อ: นางสาว  มาริษา  มุสิกจินดา   รหัสนักศึกษา: 634713024 เบอร์โทร: 0993070240 คณะ :เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขา :เทคโนโลยีอุตสาหการ กีฬาที่ชอบ : ฟุตบอล เทควันโด